ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด ตกแต่งภายใน : บริษัท บาริโอ จำกัด
 
 

 

จากความเชื่อของชาวเรือ “ ประภาคาร ” หรือ Lighthouse เปรียบเสมือน “ ดวงประทีปแห่งท้องทะเล ” คอยส่องนำทางของชาวเรือ เป็นเครื่องเตือนว่าได้เข้าสู่เขตร่องน้ำ หรือเข้าสู่เขตที่เป็นอันตรายต่อการเดินเรือแล้ว โดยใช้แสงไฟเป็นตัวบ่งบอก ดังนั้นไฟดวงนี้จะดับไม่ได้ จึงต้องมีเจ้าหน้าที่ควบคุมดูแลอยู่ตลอดเวลา

“ ประภาคาร ” หรือ Lighthouse เกิดขึ้นครั้งเเรกในโลกประมาณ 50 ปีก่อน พ.ศ. - พ.ศ. 50 ทางแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เพื่อเอื้อประโยชน์ให้กับการเดินเรือติดต่อค้าขายกัน เริ่มจากในสมัยนั้นขับเคลื่อนเรือด้วยแรงคนตีกรรเชียง และได้อาศัยภูเขาไฟซึ่งมีอยู่มากมายในบริเวณนั้น เป็นจุดสังเกตในการเดินเรือ ครั้นภูเขาไฟดับ ก็ได้จุดไฟขึ้นแทน จากวิธีการนี้ทำให้เกิดความคิดในการสร้างกระโจมไฟขึ้นในเวลาต่อมา ตามประวัติประภาคารแห่งแรกในโลก คือประภาคารที่ตั้งอยู่บนเกาะฟาราส ( Pharos) หน้าเมืองอะเล็กซานเดรีย ( Alexandria) ในอียิปต์ มีชื่อว่าฟารอสแห่งเล็กซานเดรีย (Pharos of Alexandria) ประภาคารนี้ สร้างโดยชาวกรีก ชื่อ ซอสตราตุส ( Sostratus) ชาวเมืองไนดัส ( Cnidus) ในสมัยกษัตริย์ปโตเลมี ( Ptolemy) ประมาณ พ.ศ. 260

 
 
 
 

 

ประภาคารได้พัฒนาเรื่อยมาตามความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น เดิมใช้ไม้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับแสงสว่าง ต่อมาก็เป็นแสงสว่างจากไขปลาวาฬ เป็นน้ำมันก๊าซ เป็นแก๊สอะเซติลีน ( Acetylene) และมาเป็นไฟฟ้าในที่สุด

ในสมัยปัจจุบัน ประภาคารนอกจากจะเป็นที่ส่งสัญญาณไฟ เพื่อเป็นที่หมายให้ชาวเรือแล้ว ยังมีสัญญาณอย่างอื่นอีก เช่น “ สัญญาณหมอก ” ซึ่งจะส่งเป็นเสียงหวูด ไซเรน หรือ ระฆัง ในเวลาที่มีหมอกโดยอัตโนมัติ และมี “ สัญญาณวิทยุ ” เพื่อให้ชาวเรือหาทิศทางที่ตั้งของประภาคารจากสัญญาณที่ส่งออกไปนั้น เพื่อนำไปกำหนดตำบลที่ของเรือในทะเลได้ ประภาคารบางแห่งยังมีสัญญาณแสดงให้ทราบความลึกของน้ำในเวลาที่เรือผ่านบริเวณนั้นด้วย

 

 
 
 
 


A lighthouse keeper's cottage
เดิมจึงเป็นกระท่อมสำหรับผู้ดูแลไฟแห่งท้องทะเล ได้ถูก Edward Hopper ศิลปินชาวอเมริกาปรับเปลี่ยนมาเป็นบ้านสำหรับพักอาศัยของเขาและครอบครัว จากความที่เป็นศิลปิน ดังนั้นเขาจึงมิได้รื้อหรือเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆ ของประภาคารมากนัก แต่ใช้มีวิธีปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสภาพแวดล้อมโดยรอบและเข้ากับลักษณะเด่นของประภาคารได้อย่างลงตัว

ด้วยความที่ A lighthouse keeper's cottage ตั้งอยู่ในจุดที่สูงและอยู่บนแหลมจึงเป็นข้อได้เปรียบของบ้านหลังนี้ที่สามารถมองเห็นทั้งฝั่งทะเลในระยะไกล ในขณะเดียวกันก็สามารถมองเข้ามาในแผ่นดินได้ไกลถึง 4,800 กิโลเมตร อีกด้วย

 
 
 
 

 

การตกแต่งภายในเน้นการใช้ไม้เป็นหลักทั้งแต่พื้นไม้สน เพดานไม้จามจุรี รวมไปถึงการใช้เฟอร์นิเจอร์ ไม้แบบ antique ด้วยความเป็นศิลปินของเจ้าของบ้านสีขาวจึงเป็นสีหลักที่เลือกใช้ เนื่องจากสามารถเล่นสีในส่วนของเฟอร์นิเจอร์ได้เยอะ และสามารถใส่ลูกเล่นได้หลากหลาย

สีรองลงมาที่เลือกใช้คือ สีฟ้าจาง เป็นที่ที่เข้ากันได้ดีกับบรรยากาศของบ้านที่อยู่ริมทะเล เป็นการสร้างบรรยากาศทะเลในบ้านอีกแบบหนึ่ง นอกเหนือจากของประดับตกแต่งต่างๆ เช่น ประภาคารจำลอง หินกรวด หรือแม้กระทั้งผ้าปูที่นอนพิมพ์ลายหอยต่างๆ

หน้าต่างที่ค่อนข้างเยอะเพื่อใช้ระบายอากาศและรับลม ยังช่วยรับแสงธรรมชาติที่จะเข้ามาในทุกทิศทาง บวกกับการที่เลือกใช้ผ้าม่านโปร่งสีขาว ทำให้บ้านดูนุ่มนวลได้อย่างไม่น่าเชื่อเลยทีเดียว

 
 
 

ขอบคุณ : Waterside Living
Page One Publishing PTE Ltd.

 


ห้องรับแขก เลือกใช้เก้าอี้หวายกับผ้าทอสีขาวและฟ้าเข้ากันได้ดีกับโซฟา Style Country สีขาวลายดอกสีฟ้า โต๊ะกลางไม้แบบ antique มีชั้นเก็บของ

โถงกลางบ้าน เป็นศูนย์กลางของบ้าน ที่สามารถเชื่อมจากชั้นล่างสู่ชั้นสองและเชื่อมเข้าสู่ห้องต่างๆ แล้วยังใช้เป็นที่โชว์ผลงานของตัวเองได้อีกด้วย

จากมุมมองของบ้านเป็นมุม Panoramic สามารถมองเห็นได้กว้างไปจนสุดหน้าผา สร้างเสน่ห์ให้น่าหลงใหลในหน้าร้อนที่ท้องฟ้าโปร่งสามารถมองเห็นแสงไฟระยิบแข่งกับแสงดาวบนฟ้า ใครจะเชื่อล่ะว่าจากกระท่อมของคนเฝ้าไฟในประภาคารจะกลับกลายมาเป็นบ้านแสนโรแมนติกสำหรับผู้ที่หลงใหลทะเลได้ล่ะ...

 

 
 

 

 

 
Home | About Bareo | News & Events | Art of Design | Decor Guide | The Gallery | Living Young | Talk to Editor | Links
 
บริษัท บาริโอ จำกัด
50 ซอยบรมราชชนนี 4 ถนนบรมราชชนนี เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 Tel. 66 2881 8536-7 Fax. 66 2881 8538
house servic, decoration design home architect architecture interior design designer homeplan residential furniture family decorat building build planning cost news information structure arch drawing apartment idea bangkok develop foreman เฟอร์นิเจอร์ การซ่อมแซมบ้าน วัสดุแต่งบ้าน ห้องนอน ห้องรับแขก ห้องอาหาร ออกแบบ ตกแต่งภายใน ออกแบบตกแต่งภายใน เฟอร์นิเจอร์ บ้านสวย มัณฑนากร สถาปัตย์ ตกแต่ง บารีโอ บริการ ปรึกษา รับสั่งผลิตเฟอร์นิเจอร์ตามแบบ รับเหมาตกแต่ภายใน วรวุฒิ ธรรมกุลางกูร มยุรี ธรรมกุลางกูร